ทำความเข้าใจกับโปรแกรม
- #include <stdio.h>
- void main()
- {
- printf(“Hello GI\n”);
- }
แนวคิดในการเขียนโปรแกรม
โจทย์ : จงเขียนโปรแกรมรับค่าเลขจำนวนเต็ม 2 จำนวน และหาผลบวกของเลขทั้ง 2 จำนวนนั้น
1. วิเคราะห์ปัญหา
ขั้นตอนนี้ถือเป็นขั้นตอนที่สำคัญที่สุด ผู้เขียนโปรแกรมจะต้องวิเคราะห์ปัญหาให้ออกว่า จะร้องทำการเขียนโปรแกรม เพื่อแก้ไขปัญหาอะไร เพราะหากวิเคราะห์หรือมองปัญหาผิดแล้ว ก็จะทำให้การเขียนโปรแกรมได้ผลลัพธ์ออกมาแบบผิดๆ และนอกจากจะวิเคราะห์ว่าปัญหาคืออะไรแล้ว จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องวิเคราะห์ด้วยว่า ข้อมูลที่จะนำเข้ามาใช้ในโปรแกรมมีอะไรบ้าง จากโจทย์ข้างต้น สามารถแตกปัญหาได้ 2 ส่วน คือ
ขั้นตอนนี้ถือเป็นขั้นตอนที่สำคัญที่สุด ผู้เขียนโปรแกรมจะต้องวิเคราะห์ปัญหาให้ออกว่า จะร้องทำการเขียนโปรแกรม เพื่อแก้ไขปัญหาอะไร เพราะหากวิเคราะห์หรือมองปัญหาผิดแล้ว ก็จะทำให้การเขียนโปรแกรมได้ผลลัพธ์ออกมาแบบผิดๆ และนอกจากจะวิเคราะห์ว่าปัญหาคืออะไรแล้ว จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องวิเคราะห์ด้วยว่า ข้อมูลที่จะนำเข้ามาใช้ในโปรแกรมมีอะไรบ้าง จากโจทย์ข้างต้น สามารถแตกปัญหาได้ 2 ส่วน คือ
- ต้องรับข้อมูลเลขจำนวนเต็ม 2 ตัว เข้ามาในโปรแกรม
วิเคราะห์ กำหนดให้ x เก็บเลขจำนวนเต็มตัวที่ 1
กำหนดให้ y เก็บเลขจำนวนเต็มตัวที่ 2
- เลขจำนวนเต็มที่ 1 บวก เลขจำนวนเต็มที่ 2 มีค่าเท่ากับเท่าไหร่
วิเคราะห์ กำหนดให้ sum เก็บค่าผลบวกของเลขจำนวนเต็มทั้งสองจำนวน นั่นคือ sum = x + y
วิเคราะห์ กำหนดให้ x เก็บเลขจำนวนเต็มตัวที่ 1
กำหนดให้ y เก็บเลขจำนวนเต็มตัวที่ 2
- เลขจำนวนเต็มที่ 1 บวก เลขจำนวนเต็มที่ 2 มีค่าเท่ากับเท่าไหร่
วิเคราะห์ กำหนดให้ sum เก็บค่าผลบวกของเลขจำนวนเต็มทั้งสองจำนวน นั่นคือ sum = x + y
การวางแผน คือ การนำปัญหาที่วิเคราะห์ได้จากขั้นตอนที่ 1 มาวางแผนอย่างเป็นขั้นตอนว่าจะต้องเขียนโปรแกรมเพื่อแก้ปัญหาอย่างไร การวางแผนอย่างเป็นขั้นตอนนี้ เรียกว่า อัลกอรึทึ่ม ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 รูปแบบ ดังนี้
- ซูโดโค้ด (Pseudo code) คือ การเขียนอัลกอรึทึ่มโดยใช้ภาษาอังกฤษง่ายๆ สื่อความหมายออกมา สามารถเขียนได้ดังนี้
START
READ X
READ Y
COMPUTE SUM = X + Y
PRINT SUM
STOP
เป็นการนำเอาอัลกอริทึมจากขั้นตอนที่ 2 มาเขียนโปรแกรมให้ถูกต้องตามหลักไวยกรณ์ Syntax ของภาษา C จากโจทย์สามารถเขียนโปรแกรมได้ดังนี้
-แสดงซอสโค้ด
1 : #include <stdio.h>
2 : void main()
3 : {
4 : int x, y, sum;
5: printf(“Value of x is :”);
6 : scanf(“%d”,&x);
7 : printf(“Value of y is :”);
8 : scanf(“%d”,&y);
9 : sum = x + y;
10 : printf(“Sum of %d + %d is %d\n”,x, y, sum);
11 : }
1 : #include <stdio.h>
2 : void main()
3 : {
4 : int x, y, sum;
5: printf(“Value of x is :”);
6 : scanf(“%d”,&x);
7 : printf(“Value of y is :”);
8 : scanf(“%d”,&y);
9 : sum = x + y;
10 : printf(“Sum of %d + %d is %d\n”,x, y, sum);
11 : }
เป็นการนำผลลัพธ์จากขั้นตอนที่ 3 มาทำการ RUN โดยทดสอบป้อนค่า X และ Y เข้าไปในโปรแกรม และตรวจสอบผลลัพธ์ว่าถูกต้องหรือไม่ หากถูกต้องแสดงว่า โปรแกรมที่เขียนถูกต้องเช่นกัน แต่หากผลลัพธ์ถูกบ้างผิดบ้าง หรือผิดทุกครั้งแสดงว่าโปรแกรมที่เขียนขึ้นผิดพลาด ผู้เขียนต้องกลับไปตรวจสอบ
Value of X is: 7
Value of Y is: 8
Sum of 7 + 8 is: 15
จุดประสงค์ที่สำคัญของการจัดทำคู่มือ คือ ช่วยให้ผู้อื่นศึกษาซอสโค้ดของโปรแกรมได้ง่ายขึ้น ซึ่งจะเป็นประโยชน์สำหรับการพัฒนาโปรแกรมในอนาคต ดังตัวอย่าง
ชื่อโปรแกรม หาค่าผลบวกของเลขจำนวนเต็ม 2 จำนวน
ตัวแปรที่ใช้ x เก็บค่าจำนวนเต็มที่ 1
y เก็บค่าจำนวนเต็มที่ 2
sum เก็บค่าผลบวกของจำนวนเต็ม ทั้ง 2 จำนวน
ชนิดของข้อมูล x, y, sum เป็นข้อมูลชนิดเลขจำนวนเต็ม (integer)
วิธีการแก้ปัญหา ใช้สมการ sum = x + y
ตัวแปรที่ใช้ x เก็บค่าจำนวนเต็มที่ 1
y เก็บค่าจำนวนเต็มที่ 2
sum เก็บค่าผลบวกของจำนวนเต็ม ทั้ง 2 จำนวน
ชนิดของข้อมูล x, y, sum เป็นข้อมูลชนิดเลขจำนวนเต็ม (integer)
วิธีการแก้ปัญหา ใช้สมการ sum = x + y
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น